30 มิ.ย. 2555

น้ำมันหมู ทำกับข้าวแทน น้ำมันพืช

สมัยก่อนคนไทยนิยมทอดอาหารด้วยน้ำมันหมู
แต่เมื่อน้ำมันพืชเข้ามาบุกตลาดพร้อมกับโฆษณาว่าใช้น้ำมันพืช
แล้วดี เพราะไม่เป็นไข

... ทำให้คนเชื่อว่าน้ำมันหมูไม่ดี เพราะเป็นไขได้ง่าย จึงหันมา
หาบริโภคน้ำมันพืชแทน

จริงๆ แล้วน้ำมันพืช น้ำมันปาล์มจัดเป็นไขมันชนิดไม่อิ่มตัว
การผลิตต้องผ่านกรรมวิธีฟอกสีให้ดูสะอาด สดใส แวววาวพร้อม
กับแต่งกลิ่นไม่ให้เหมืนหืน

ที่โฆษณาว่าไม่เป็นไขนั้นจริงๆแล้ว น้ำมันพืชจะไม่เป็นไขก็ต่อ
เมื่ออยู่ในอุณหภูมิต่ำกว่า 25 องศาฯ แต่อุณหภูมิในร่างกายคนเราอยู่
ที่ประมาณ 37 องศาฯ

ซึ่งเมื่อน้ำมันพืช น้ำมันปาล์มเข้าสู่ร่างกายแล้ว
จะกลายเป็นกาวเหนียว ๆ เข้าไปเกาะเคลือบผนังลำคอ ลำไส้
กระเพาะ ทำให้ผนังลำไส้เล็กไม่สามารถดูดซึมสารอาหารต่างๆ
ไปหล่อเลี้ยงร่างกายได้

นำไปสู่โรคต่าง ๆ มากมาย ทั้งโรคอ้วน โรคคอเลสเตอรอลสูง
โรคไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ โรคไต โรคภูมิแพ้ โรคเบาหวาน
โรคไทรอยด์ รวมถึงทำให้เสื่อมสมรรถภาพทางเพศได้ด้วย

>>> ตรงข้ามกับน้ำมันหมู ที่เป็นไขมันอิ่มตัว
แต่เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะไม่เป็นไขและละลายกับน้ำได้ ร่างกาย
จึงดูดซึมสารอาหารไปหล่อเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่าง
เป็นปกติ คนสมัยก่อนจึงไม่มีปัญหาโรคภัยรุมเร้ามากมายอย่างในปัจจุบัน

ดังนั้น เราจึงควรคิดใหม่ทำใหม่กันอีกครั้ง
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงที่น้ำมันพืชเคยขาดแคลน
หันมาเคี่ยวน้ำมันหมูใช้เองกันดีกว่า ทั้งประหยัด ทั้งปลอดภัยกว่า
น้ำมันพืชเป็นไหนๆ

••• วิธีทดสอบความเป็นไขของน้ำมันพืชและน้ำมันหมู •••

เอาน้ำมันพืชใช่ภาชนะ แล้วเอาไปตากแดด
ในอุณหภูมิประมาณ 30 -37 องศา ซึ่งใกล้เคียงกับร่างกายของเรา
สัก 10 นาที แล้วลองเช็ดน้ำมันออก

จะพบว่าเป็นเมือกกาวซึ่งเช็ดออกยากมาก
ล้างไม่มีทางออก ต้องใช้ "กรด" เท่านั้นถึงล้างออก!
ตรงข้ามกับน้ำมันหมู น้ำมันมะพร้าว ตากแดดแล้วล้างออกง่าย
ทีนี้ลองเลือกเอาเองว่า เราควรจะบริโภคน้ำมันแบบไหนดีกว่ากัน


รูปภาพ : ► น้ำมันหมู  ทำกับข้าวแทน  น้ำมันพืช

สมัยก่อนคนไทยนิยมทอดอาหารด้วยน้ำมันหมู 
แต่เมื่อน้ำมันพืชเข้ามาบุกตลาดพร้อมกับโฆษณาว่าใช้น้ำมันพืช
แล้วดี เพราะไม่เป็นไข 

ทำให้คนเชื่อว่าน้ำมันหมูไม่ดี เพราะเป็นไขได้ง่าย จึงหันมา
หาบริโภคน้ำมันพืชแทน

จริงๆ แล้วน้ำมันพืช น้ำมันปาล์มจัดเป็นไขมันชนิดไม่อิ่มตัว 
การผลิตต้องผ่านกรรมวิธีฟอกสีให้ดูสะอาด สดใส แวววาวพร้อม
กับแต่งกลิ่นไม่ให้เหมืนหืน 

ที่โฆษณาว่าไม่เป็นไขนั้นจริงๆแล้ว น้ำมันพืชจะไม่เป็นไขก็ต่อ
เมื่ออยู่ในอุณหภูมิต่ำกว่า 25 องศาฯ แต่อุณหภูมิในร่างกายคนเราอยู่
ที่ประมาณ 37 องศาฯ 

ซึ่งเมื่อน้ำมันพืช น้ำมันปาล์มเข้าสู่ร่างกายแล้ว 
จะกลายเป็นกาวเหนียว ๆ เข้าไปเกาะเคลือบผนังลำคอ ลำไส้ 
กระเพาะ ทำให้ผนังลำไส้เล็กไม่สามารถดูดซึมสารอาหารต่างๆ 
ไปหล่อเลี้ยงร่างกายได้ 

นำไปสู่โรคต่าง ๆ มากมาย ทั้งโรคอ้วน โรคคอเลสเตอรอลสูง 
โรคไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ โรคไต โรคภูมิแพ้ โรคเบาหวาน 
โรคไทรอยด์ รวมถึงทำให้เสื่อมสมรรถภาพทางเพศได้ด้วย

>>> ตรงข้ามกับน้ำมันหมู ที่เป็นไขมันอิ่มตัว 
แต่เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะไม่เป็นไขและละลายกับน้ำได้ ร่างกาย
จึงดูดซึมสารอาหารไปหล่อเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่าง
เป็นปกติ คนสมัยก่อนจึงไม่มีปัญหาโรคภัยรุมเร้ามากมายอย่างในปัจจุบัน

ดังนั้น เราจึงควรคิดใหม่ทำใหม่กันอีกครั้ง 
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงที่น้ำมันพืชเคยขาดแคลน 
หันมาเคี่ยวน้ำมันหมูใช้เองกันดีกว่า ทั้งประหยัด ทั้งปลอดภัยกว่า
น้ำมันพืชเป็นไหนๆ 

••• วิธีทดสอบความเป็นไขของน้ำมันพืชและน้ำมันหมู •••

เอาน้ำมันพืชใช่ภาชนะ แล้วเอาไปตากแดด
ในอุณหภูมิประมาณ 30 -37 องศา ซึ่งใกล้เคียงกับร่างกายของเรา
สัก 10 นาที แล้วลองเช็ดน้ำมันออก 

จะพบว่าเป็นเมือกกาวซึ่งเช็ดออกยากมาก 
ล้างไม่มีทางออก ต้องใช้ "กรด" เท่านั้นถึงล้างออก! 
ตรงข้ามกับน้ำมันหมู น้ำมันมะพร้าว ตากแดดแล้วล้างออกง่าย 
ทีนี้ลองเลือกเอาเองว่า เราควรจะบริโภคน้ำมันแบบไหนดีกว่ากัน

-------- จบ ---------

บรรพต 107 http://www.mediafire.com/?4m6lci85n0w8ed3

ไม่มีความคิดเห็น: